Customise Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorised as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyse the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customised advertisements based on the pages you visited previously and to analyse the effectiveness of the ad campaigns.

การเป็นคนที่มีความรับผิดชอบต่อสิ่งต่างๆในชีวิตถือว่าเป็นเรื่องที่ดี เพราะนั่นหมายถึงว่าคุณมีความน่าเชื่อถือและสามารถรับผิดชอบทั้งตัวเองและผู้อื่นได้ ? เป็นคนรับผิดชอบมากเกินไปหรือเปล่า

เป็นคนรับผิดชอบมากเกินไปหรือเปล่า ?
การที่คุณต้องทำในทุกๆ สิ่งคนเดียว หรือ แม้แต่รับผิดชอบความผิดพลาดนั้นด้วย เป็นสัญญาณบ่งบอกว่า คุณเป็นผู้ใหญ่ที่สามารถรับผิดชอบความผิดพลาดนั้นๆ ได้

นอกจากนี้ คนอื่นยังเทความผิดพลาดหรือสิ่งที่พวกเขาทำไม่ได้ นั่นหมายความว่า คุณรับผิดชอบมากเกินไปแล้ว ความรับผิดชอบที่มากเกินไป แสดงว่าคุณได้รับความไว้วางใจและความโปรดปรานอีกด้วย

ตัวอย่างเช่น จากการศึกษาของ Harvard Business School เผยว่า เราจะรู้สึกผิดและรู้สึกรับผิดชอบได้ไม่ดีในสิ่งที่ไม่ใช่ความผิดของเราด้วย นั่นเพราะคุณคิดมากเกินไป

นักวิจัยได้ทำการสุ่มตัวอย่างโดยจ้างนักแสดงจำลองฉากว่า พวกเขากำลังไปงานที่พวกเขาต้องไปแสดงไม่ทัน จึงขอยืมโทรศัพท์มือถือกับนักท่องเที่ยว ซึ่ง 47% ของนักท่องเที่ยวเสนอให้โดยไม่ได้คิดอะไร แต่ 9% ที่ยอมรับเกี่ยวกับความรับผิดชอบที่นักแสดงจะไปไม่ทันการแสดงที่พวกเขารับงานเอาไว้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยว่า คนที่แสดงความรับผิดชอบต่างๆ ออกมา แท้จริงแล้วเป็นคนที่มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น

ตัวอย่างของคนที่มีความรู้สึกนี้
แต่ว่าพอถึงจุดหนึ่งที่เรามีความรับผิดชอบที่เกินกว่าเราจะรับไหว เช่น อาสาสมคัรคนที่ 1 รู้สึกรู้สึกผิดอย่างมากเมื่อเขาเคยชนคน ในขณะที่เขาขับรถ ซึ่งเวลาขับรถก็จะมีความคิดกังวลคนที่เดินอยู่ริมถนนหรือทางเท้า ซึ่งเขามีความเชื่อว่า เขาไม่ได้ตั้งใจ แต่อาสาสมัครคนที่ 2 เชื่อว่า ต้องรับผิดชอบ100%

ทำไมเราถึงคิดว่า เราต้องรับผิดชอบทุกสิ่งตลอดเวลา ?
การที่เรามีความคิดว่าเราต้องรับผิดชอบทุกสิ่งตลอดเวลานั้น สิ่งที่บ่งชี้ได้คือ ในเมื่อเราเป็นเด็กเราโดนตำหนิบ่อยๆ ทำให้เรารู้สึกว่าต้องทำทุกอย่างในชีวิตให้ดีขึ้นๆ ในทุกๆ วันเพื่อลบปมด้อยในใจในวัยเด็ก

การแก้ปัญหา
ซึ่งทางแก้ปัญหานี้ก็คือ 1. ลองถอยออกมาดูสถานการณ์ แล้วพิจารณาว่า เราควรเทใจไปรบผิดชอบในสิ่งที่เราไม่ผิด หรือไม่ได้รับผิดชอบสิ่งๆ นี้ตั้งแต่แรก และ 2 ก็คือปล่อยวางบ้าง

ลองปล่อยวางกับทุกสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้เราเครียด ซึ่งการที่เรารู้สึกรับผิดชอบมากเกินไป ทำให้เรามีความเครียดสะสมและกดดันตัวเองมากเกิน หากใครที่กำลังเผชิญความรู้สึกนี้อยู่ แนะนำให้ถอยออกมาจากปัญหาก่อน แล้วจึงใช้ใจ 100% เพื่อเตรียมรับกับความับผิดชอบในครั้งนี้

Share.