Customise Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorised as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyse the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customised advertisements based on the pages you visited previously and to analyse the effectiveness of the ad campaigns.

โดยทั่วไปอาการปวดประจำเดือน มักเกิด 1-2 วันก่อนมีประจำเดือน หรืออาจเกิดขึ้นในวันที่มีประจำเดือนก็ได้ ซึ่งการเกิดอาการดังกล่าว เกี่ยวข้องกับสารกระตุ้นการอักเสบ Prostaglan din ซึ่งมีการศึกษาพบว่า ในเลือดประจำเดือนของผู้หญิงที่มีอาการปวดประจำเดือน มีสารชนิดนี้สูงกว่าผู้หญิงที่ไม่มีอาการปวดถึง 2 เท่า

และนอกจากจะทำให้เกิดการอักเสบแล้ว ยังมีผลทำให้กล้ามเนื้อมดลูกบีบตัวมากกว่าปกติ จึงทำให้มีอาการปวดท้องขณะมีประจำเดือน และอาจลามไปที่เอวด้านหลัง ต้นขา หรือในบางคนอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย และอ่อนเพลียร่วมด้วย ทั้งนี้เมื่อไหร่ที่สาวๆ มีอาการปวดท้องประจำเดือน ก็จะมีความเคยชินว่าจะต้องไปซื้อยามากิน เพื่อบรรเทาอาการปวดให้ดีขึ้น

ซึ่งยาที่สาวๆ คุ้นเคยโดยมีชื่อทางการค้าที่หลายคนรู้จักคือ “พอนสแตน” (Ponstan) มีคุณสมบัติเป็นยาต้านการอักเสบ และบรรเทาปวดระดับน้อยไปจนถึงระดับปานกลาง เช่น ปวดฟันหลังผ่าตัด ปวดประจำเดือน ปวดกระดูก และปวดจากโรคข้อบางชนิด นอกจากนั้นยังใช้ลดอาการไข้ได้ด้วย

หากถามว่ากินพอนสแตนทุกครั้ง เมื่อปวดท้องประจำเดือนจะเป็นอันตรายไหม ขอบอกเลยว่าถ้ากินอย่างต่อเนื่องและเกินปริมาณย่อมมีผลข้างเคียงแน่นอน ดังนั้นสำหรับผู้ใหญ่ขนาดสูงสุดที่รับประทาน คือไม่ควรเกิน 500 มิลลิกรัมต่อครั้ง และไม่เกิน 3 ครั้งต่อวัน อาการปวดทั่วไปไม่ควรรับประทานยาติดต่อกันเกิน 7 วัน

ด้านผลเคียงของการได้รับยานี้อย่างต่อเนื่อง อาจจะทำให้เกิดภาวะเกล็ดเลือดแตก (เลือดจึงออกได้ง่ายและหยุดยาก) โลหิตจาง ภาวะซีด ระคายเคืองในช่องท้อง ท้องผูก บางคนก็ท้องเสีย เกิดแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ ผิวหนังบวม หอบหืด ปวดศีรษะ ง่วงนอน หงุดหงิด หรืออันตรายถึงขนาดเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว

นอกจากนี้ยังอาจทำให้เกิดความดันโลหิตสูง ใจสั่น ลมพิษ ภาวะตับและไตทำงานผิดปกติได้อีกด้วย ดังนั้นผู้ที่เป็นโรคตับหรือโรคไต ผู้ป่วยที่เป็นโรคเลือดชนิดต่างๆ เช่น โรคเกล็ดเลือดต่ำ สตรีที่ตั้งครรภ์หรืออยู่ในช่วงให้นมบุตร รวมถึงผู้ที่ผ่าตัดเส้นเลือดที่หัวใจ ผู้ป่วยโรคหัวใจ ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้

Share.