Customise Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorised as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyse the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customised advertisements based on the pages you visited previously and to analyse the effectiveness of the ad campaigns.

เคยมีคนบอกว่า อกหักแค่เรื่องขำๆ ถูกความรักทำร้ายคงไม่ถึงตาย แต่เรื่องแบบนี้ไม่เจอกับตัวเองคงไม่รู้ ความเสียใจจากการสูญเสียคนรัก ทำให้หลายคนต้องจมอยู่กับช่วงเวลาที่เลวร้าย คล้ายกับหัวใจกำลังจะถูกฉีกขาด เจ็บปวดอย่างที่ไม่เคยรู้สึก ความรู้สึกต่างๆที่เกิดขึ้นนี้ คุณไม่ได้กำลังคิดไปเอง แต่คือสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นกับร่างกายของคุณจริงๆ วันนี้ GangBeauty ได้นำข้อมูลผลการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้มาบอกกัน อาการอกหัก เพิ่มความเสี่ยงโรคหัวใจได้จริงหรือไม่? ตามไปดูพร้อมๆกันเลยค่ะ


: pixabay.com

นักวิจัยได้มีการศึกษาว่า อะไรคือเหตุผลที่ทำให้คนอกหัก รู้สึกเหมือนกำลังมีอาการหัวใจวาย สิ่งที่พวกเขาพบคืออาการของ โรคกล้ามเนื้อหัวใจเครียด เป็นผลทางกายภาพ ตอบสนองกับความรู้สึกผิดหวัง หรือถูกทำให้เสียใจมากๆ


: pixabay.com

นอกจากนี้ยังมีผลวิจัยในอเมริกาที่ระบุว่า ความเครียดมีส่วนเกี่ยวข้อง และมีโอกาสพัฒนาไปสู่ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้ในทันที ซึ่งความเสี่ยงนี้จะคงอยู่และมีแนวโน้มจะสูงขึ้น แม้ว่าเวาลาจะผ่านไปเป็นเดือน ยิ่งเป็นเหตุการณ์ที่กระทันหัน ยิ่งเพิ่มความเสี่ยง และพบอีกว่าวัยหนุ่มสาว มีโอกาสที่อาการอกหักจะพัฒนาเกิดเป็นภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ได้มากกว่าช่วงวัยอื่นๆ


: pixabay.com

การวิจัยชิ้นนี้ทำให้เห็นความเชื่อมโยงกัน ของจิตใจและความรู้สึก ร่างกายจะสังเกตและมีการตอบรับ กับสภาวะจิตใจที่สิ้นหวัง อาการสะเทือนใจ บาดแผลจากความเครียดอย่างรุนแรง ความเสียใจลึกๆ ทำให้หัวใจเกิดความสับสนในวิธีการทำงาน


: pixabay.com

ส่วนหนึ่งของงานวิจัยระบุว่า “การสูญเสียญาติหรือเพื่อนสนิท ที่เป็นเหตุการณ์สำคัญมากในชีวิต เพิ่มความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ, ความเจ็บปวดทางจิตและนำไปสู่ความตาย” เมื่อสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นกับร่างกาย จึงเป็นเหตุทำให้คนที่อกหักรู้สึกราวกับหัวใจสลายได้จริงๆ

อย่ามองว่าคนอกหักเป็นอ่อนแอ เพียงเพราะคุณไม่เคยรัก และสูญเสียเหมือนอย่างที่เขารู้สึก

Share.