Customise Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorised as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyse the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customised advertisements based on the pages you visited previously and to analyse the effectiveness of the ad campaigns.

สงสัยใช่ไหมว่า ทำไมพูดโกหกถึงทำให้สมองเสื่อมได้ ?

โดยธรรมชาติแล้ว เมื่อเริ่มพูดโกหก สมองจะเริ่มจินตนาการ

ถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นใหม่ เพื่อให้แนบเนียน และ ไม่ถูกจับได้

พูดสิ่งที่ผิดไปจากข้อมูลเดิมที่เคยได้รับรู้ ภายสมองจะเขียนข้อมูลใหม่

“ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง” ทับลงบน “ข้อมูลที่ถูกต้อง” ทำให้เริ่มสับสน

เนื่องจาก.. ความจริง และ ข้อมูล ที่ตรงข้าม จึงทำให้การจัดการข้อมูลผิดปกติ

ในระยะยาวจะทำให้การเชื่อมโยงข้อมูลที่จัดเก็บไว้รวนเรได้

เมื่อโกหกบ่อยจนเป็นนิสัย คนที่โกหกบ่อยๆ จะเริ่มจำไม่ได้ว่า

เรื่องนี้เคยบอกผู้อื่นไปไว้อย่างไร เรื่องนี้เคยโกหกไปว่าอย่างไร

เพราะ ความเป็นจริง กับ จินตนาการ เริ่มผสมกันไปมา..

กลายเป็นว่า เรื่องโกหกนี้หลอกตัวเองไปด้วยโดยไม่รู้ตัว

สรุปได้ว่าเวลาที่เราพูดโกหก เราจะเริ่มต้นด้วยการคิดเป็นภาพที่ไม่จริงขึ้นในใจก่อน

จากนั้นจึงพูดออกไปตามภาพที่เราคิด การพูดเรื่องไม่จริงบ่อยๆ

จะทำให้ภาพความจริงกับภาพความคิดปะปนกัน ก่อให้เกิดอาการสับสน

จนบางครั้งผู้พูดก็ไม่สามารถแยกได้ว่า เรื่องไหนเป็นเรื่องจริง เรื่องไหนเป็นเรื่องโกหก

ทำให้มีโอกาสสมองเสื่อมมากกว่าคนที่พูดความจริงอยู่เสมอ

เพราะ คนที่พูดแต่ความจริงจะเห็นภาพความจริงเพียงภาพเดียวอย่างชัดเจน

ความจำจึง ชัดเจน และ แม่นยำ !!

หรือนี่อาจเป็นผลกรรมตามธรรมชาติของร่างกายที่ลงโทษคนชอบโกหกก็ได้

รู้แบบนี้แล้ว เราควรพูดความจริงเสียดีกว่า อย่างน้อยๆก็ไม่ต้องคอยปิดบังอะไร

Share.