Customise Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorised as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyse the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customised advertisements based on the pages you visited previously and to analyse the effectiveness of the ad campaigns.

หากเมื่อคืนคุณนอนเพียง 4-5 ชั่วโมงแล้วต้องตื่นแต่เช้ามาทำงาน รับรองว่าคุณจะต้องง่วงนอนแน่ๆ แต่หากช่วงนี้คุณเองก็นอนมากกว่า 6-7 ชั่วโมง ไม่ได้นอนน้อยแต่อย่างใด แต่ยังรู้สึกง่วงระหว่างวันตลอดเวลา นั่นอาจหมายความว่าคุณกำลังนอนอย่าง “ไร้คุณภาพ” อยู่หรือเปล่า?

นอนอย่าง “ไร้คุณภาพ” คืออะไร?

การนอนอย่างมีคุณภาพไม่ได้หมายถึงระยะเวลาที่เรานอนมากเพียงพออย่างเดียว แต่นั่นต้องรวมถึงว่าร่างกายของเราได้พักผ่อนจากการนอนหลับอย่างเต็มที่จริงๆ ดังนั้นหากคุณนอน 8 ชั่วโมง แต่ร่างกายของคุณไม่ได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ คุณอาจง่วงนอนเหมือนนอนไปแค่ 5 ชั่วโมงก็ได้

ทำอย่างไร ถึงจะนอนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ?

การนอนให้หลับสนิท จะทำให้ร่างกายได้พักผ่อนอย่างเต็มที่โดยไม่เสียเวลาที่นอนไปอย่างเปล่าประโยชน์ หากอยากนอนให้ได้อย่างเต็มที่ แนะนำวิธีเหล่านี้

1. นอนเท่าที่ร่างกายต้องการ หากลืมตาตื่นแล้วก็ให้ลุกขึ้นจากเตียง ไม่ต้องนอนต่อ

2. เข้านอน และตื่นนอนให้ตรงเวลาในทุกๆ วัน จนติดเป็นนิสัย

3. อย่าทำกิจกรรมหนักๆ ก่อนนอน เช่น ออกกำลังกาย เพราะจะทำให้ร่างกายตื่นตัวจนอาจจะนอนไม่หลับ

4. หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนหลังเที่ยง และแอลกอฮอล์ตั้งแต่บ่ายถึงค่ำ

5. ลดสิ่งก่อกวนสมาธิในห้องนอน เช่น แสงไฟจ้า เสียงโทรทัศน์ วิทยุ

6. งดการมองจอมือถือ และคอมพิวเตอร์ก่อนเข้านอนราวๆ 30 นาที

7. หลีกเลี่ยงการนอนงีบระหว่างวันเกิน 30 นาที

Share.